เรากำลังรณรงค์การยุติโทษประหารในประเทศไทย ซึ่งเป็นหนึ่งในเพียงไม่กี่ประเทศในโลกที่ยังคงใช้วิธีการลงโทษที่ป่าเถื่อนเช่นนี้อยู่
Sunday, July 05, 2009
Prison Conditions
หัวหน้าฝ่ายการแพทย์แห่งเรือนจำ ลาซองเต
คัดจากบันทึกความทรงจำของ เวโรนิค วาสเสอร์
“ที่เรือนจำลาซองเตนี้เราไม่สามารถที่จะทำหรือคิดแบบครึ่งๆกลางๆ ถ้าไม่กระตือรือร้นและทำงานอย่างเต็มที่ ก็อาจรู้สึกเฉยๆและทำงานแบบเสียไม่ได้ แต่ไม่มีทางที่จะทำเป็นทองไม่รู้ร้อนและทำงานแบบเครืองจักรเครื่องยนต์ได้ ต้องคิดและทำอย่างจริงจัง ถ้าคิดไม่ได้แบบนี้ก็ไม่สมควรทำงานที่นี่”
ในขณะที่การบริการทางการแพทย์ที่เรือนจำทั่วไปได้ขึ้นถึงขีดมาตรฐาน บางสิ่งบางอย่างไม่ได้เปลี่ยนไปเลย เช่น ระบบสุขอนามัยซึ่งไม่ถูกสุขลักษณะ และเป็นอันตราย สถานที่เก่าแก่ ความขี้เกียจ การสั่งจำจองโดยไม่มีการวางแผนล่วงหน้า กิจกรรมที่ไม่มีคุณค่า การขาดความใกล้ชิด การสำส่อนทางเพศ การขาดความรัก การรอคอยที่ไม่สิ้นสุด ความหวังสลาย ความโกรธ และสิ้นหวัง ความรุนแรง การทำร้ายตนเอง การพยายามฆ่าตัวตายซึ่งบางครั้งก็สำเร็จ มาตรการป้องกันความปลอกภัยที่มากเกินไปและหวาดระแวง การค้นตัวครั้งแล้วครั้งเล่า การใส่กุญแจมือ และบางครั้งโซ่ตรวนขา กฐเกณฑ์ที่ตั้งตามอำเภอใจ การยั่วเย้าทีไร้เหตุผลและน่าอับอาย ระบบที่ถ่วงดุลกับผู้อ่อนแอ การกักขังแยกที่ยาวนานบางครั้งถึงหลายปี ห้องขังดัดสันดานที่มีลักษณะคล้ายกับยุคกลาง และท้ายที่สุด คือ การถูกริดรอนเสรีภาพในสถาบันที่น่าจะเป็นตัวแทนแห่งสิทธินี้
ดอสตอเยฟสกี้เขียนไว้ว่า “เราไม่สามารถจะวัดขีดอารยธรรมของชาติหนึ่งชาติใดได้ถ้าไม่ไปดูเรือนจำเสียก่อน” อันนี้ก็ได้กระทำกันแล้ว
ข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้านั้นมากหลายนัก รายงานโดยวุฒิสมาชิกและวุฒิสภาใช้หัวข้อว่า “คุกคือสิ่งที่น่าอับอายของสาธารณรัฐ”
เราทุกคนมีความผิดเท่าเทียมกันที่ทำให้เกิดสภาพนี้่ขึ้น แต่คำถามเฉพาะหน้าคือ เรามีอารยธรรมหรือเปล่า?
ข้าพเจ้าได้เข้ามาเกี่ยวข้องกับเรื่องเหล่านี้ก็เพราะไม่มีทางเลือกทางด้านศีลธรรมอย่างอื่น จรรยาบรรณทางแพทย์เขียนไว้ว่า “แพทย์ไม่สามารถจะแยกตัวเป็นอิสระจากงานอาชีพได้ไม่ว่าจะเป็นลักษณะใด เมื่อแพทย์นั้นรักษาคนไข้ใดก็ตามผู้ซึ่งไร้อิสระ แพทย์คนนั้นต้องไม่ยอมรับหรือทนกับการกระทำที่เป็นภัยต่อกาย ใจ หรือเกียรติของผู้ถูกคุมขัง ทั้งทางตรงและทางอ้อม สัตยบรรณฮีพโปคระตีสข้อที่สิบ ที่แพทย์ทุกคนต้องสาบานไว้ว่า “หน้าที่แรกสุดคือต้องรักษา สงวน และ เสริมสร้างไว้ซึ่งสุขภาพ ทุกประการ…ต้องนับถือทุกบุคคล ต้องเข้าขัดขวางและป้องกันผู้ที่อ่อนแอ หรือผู้ที่โดนย่ำยีทางด้านคุณธรรม” อุดมการณ์ของข้าพเจ้านั้นเป็นบทเรียนราคาแพงเพราะการมีความจริงใจและการเคารพในสิทธิ์ของผู้อื่นนั้นไม่ได้ให้คุณแก่ข้าพเจ้าเลย
อย่างไรข้าพเจ้าก็ไม่เสียใจ ข้าพเจ้ารักสถานที่นี้ และบุคคลทั้งหลายที่อยู่ในนั้น ข้าพเจ้าได้เรียนรู้มากมาย เคยมีช่วงเวลาที่หมดหวังท้อแท้ใจ แต่บางครั้งก็สุขและสะเทือนอารมณ์
คุกนั้นเป็นโรงเรียนแห่งความอดทน การรับฟังและนับถือผู้อื่น เราต้องไม่ลืมว่านักโทษนั้น ก็คือประชาชนผู้ซึ่งแม้เคยต้องขังมาก่อน ต่อไปก็จะได้กลับไปมีอิสระอีกครั้งหนึ่ง
เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ปี คศ 2000 ประธานเนติบัณฑิตสภาแห่งกรุงปารีส ประกาศว่า จะให้มีผู้แทนทางด้านกฐหมาย ประจำอยู่ที่เรือนจำเพื่อดูแลสิทธิของนักโทษ และช่วยว่าความในศาลด้วย น่าขันที่ว่าสิ่งเดียวกันนี้ก็เกิดขึ้นในเรือนจำทหารด้วย (?) กฐหมายทีออกเดือนเมษายน 2000 นั้นเกี่ยวกับประเด็นสิทธิของพลเมืองทั่วไปเมื่อมีปัญหากับหน่วยงานของรัฐทั้งหลาย แต่ส่วนราชทัณฑ์ กลับคิดว่าตัวเองอยู่นอกเหนือกฐหมายนี้ และได้มีหนังสือสอบถามไปทางไปยังสภานิติบัญยัติ ว่าตัวต้องทำตามกฐข้อน้ีหรือไม่ อยากถามง่ายๆว่า ส่วนราชทัณฑ์นั้นเป็นหน่วยงานของรัฐหรือเปล่า? นักโทษนั้นเป็นพลเมืองหรือเปล่า? คำตอบทั้งสองข้อคือไช่ และจะมีผลกระทบต่อไปในอนาคตด้วย
รายงานของคณะกรรมาธิการเมื่อเดือนมีนาคม ได้ชี้ให้เห็นทางออกทางการเมืองของบทลงโทษ โดยรับรองสิทธิของผู้ต้องขัง และเรียกร้องให้มีองค์กรอิสระบริการทางด้านกฐหมายให้นักโทษ ในที่สุดสิทธิก็ได้เดินเข้ามาในเรือนจำ และทนายความก็ได้ยื่นขาเข้ามาหนึ่งข้างในคุกแล้ว เพื่อกันมิให้ประตูปิดได้อีก
ข้าพเจ้าหวังว่าความหวังยิ่งใหญ่เมื่อปี 2000 นั้นจะไม่แตกสลาย คุกนั้นเป็นเพียงสถานีเปลี่ยนเส้นทางเท่านั้น ยังมีเรื่องราวที่เกิดขึ้นก่อนหน้าและหลังจากนั้นอีก…
การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงของบทลงโทษนั้นมีผลกระทบไปถึงประมวลกฐหมายอาญาทั้งหมด เมื่อเดือนมิถุนายน ปี 2000 กฐหมายซึ่งชี้บ่งว่าบุคคลที่ยังไม่ถูกตัดสินว่าผิด เป็นผู้บริสุทธิ์ นั้น น่าจะทำให้ผู้พิพากศามีสิทธิ์ไม่ยินยอมให้มีการจองจำแบบ สั่งขังระหว่างรอดำเนินคดี การขังแบบนี้ควรเป็นข้อยกเว้นเท่านั้น 40%ของนักโทษที่ประเทศฝรั่งเศสนั้นเป็นผู้ต้องขังที่อยู่ระหว่างพิจารณา นี่แสดงให้เห็นว่าประเทศฝรั่งเศสนั้นมิได้เป็นแบบอย่างที่ดีของการใช้สิทธิมนุษยชนเหมือนที่ประเทศจะพึงปราถนาเลย
ทุกๆปี มีพลเมืองประมาณ 1000 คนที่โดนจำขังโดยที่ทางการตัดสินแบบคลาดเคลื่อน และไม่ควรลืมว่าผู้ต้องขังบางคนมิได้กระทำผิดโดยแท้จริง นี่ข้าพเจ้าอ้างถึงพวกเข้าเมืองแบบผิดกฐหมาย (37% ของผู้ถูกกักขังทั้งหมดที่ ลาซองเต) ซึ่งเป็นความผิดที่ฝ่ายบริหารควรจัดการ ไม่สมควรที่จะได้รับโทษทัณฑ์ และผู้ติดยาเสพติด ทั้งพวกมิจฉาชีพเล็กๆน้อยๆ ผู้ซึ่งสมควรจะได้รับการช่วยเหลือทางด้านสุขภาพ และสังคม เพราะการลงโทษโดยการคุมขังนั้นไร้ผล ทั้งข้าพเจ้ายังคิดไปถึงผู้เยาว์ ที่ทั้งร้อยทั้งร้อยกระทำผิดอีก ทั้งบุคคลที่เป็นโรคจิต ผู้ซึ่งไม่สมควรอย่างยิ่งที่จะมาอยู่ในคุก และข้าพเจ้าก็คิดไปอีกถึงผู้ต้องขังหญิง ที่บางครั้งคลอดลูกในขณะที่ถูกล่ามโซ่อยู่ และนึกถึงเด็กอ่อนที่ต้องประสพกับการเสื่อมโทรมทางด้านจิตใจ และ ร่างกาย…
เห็นได้ชัดเจนว่าพวกเราไม่มีจินตนาการกันเลย คำตอบเดียวที่เรามีก็คือ คุก ห้องขังสำหรับทุกคนที่คุกคามเรา ที่กันบุคคลออกไปจากสังคม เป็นสถานที่รองรับบุคคลที่เราไม่รู้ว่าจะทำอะไรกับเขาดี
ตลอดแปดปีที่ข้าพเจ้าทำงานที่ลาซองเต ข้าพเจ้าได้พบกับผู้คนที่อยู่นอกขอบข่ายของสังคม คนยากจนที่บ่อยครั้งไม่มีโดกาสได้รับการดูแลรักษาทางด้านการแพทย์ที่เรือนจำมีไว้ให้ การต้องถูกติดคุกนั้นได้กลายมาเป็นแบบอย่างของการรักษาคนจนไปเสียแล้วหรือ?
เราผู้มีหน้าที่ต่างๆกัน เพราะว่าไม่มีการต่อต้านอย่างจริงจรัง จึงได้ปล่อยให้สกานการณ์นี้กลายเป็นเรื่องธรรมดาของสังคมไป
จริงๆแล้วไม่มีใครสนใจปัญหาที่เกิดขึ้นในเรือนจำ จนกระทั่งปีนี้ซึ่งสนใจจนเป็นแฟชั่น อยากให้แนวนิยมนี้อยู่นานหน่อย…
แล้วไม่ใช่ว่าคนทั่วไปไม่รู้เรื่องปัญหาผู้ต้องขังอย่างเดียว เรายังต้องหยิบยกประมวลกฐหมายอาญาขึ้นมาพิจารณากันอีกครั้ง เพื่อใคร่ครวญว่า การกดกันตัวบุคคล การถูกลดสภาพความเป็นคน การทำให้เขาต้องรับคำสั่งตลอดการ ต้องอับอาย และโดนโปรแกรม และถูกส่งเข้าโรงพยาบาลโรคจิต คนมีอำนาจกว่าย่อมอยู่เหนือคนอ่อนแอ ทั้งนี้เหมือนกับจะพูดอย่างไม่ต้องเสแสร้งว่า “ที่นี่ แกเป็นแค่เศษมนุษย์เท่านั้น”
อำนาจนี้ใช้ในที่ปิด โดยไม่มีความโปร่งใส ไม่มีการควบคุมจากภายนอก สักวันหนึ่งต้องลงเอยด้วยสภาพการณ์ที่เลวร้าย นี่ก็คือธรรมชาติของมนุษย์ และผลลัพธ์ก็เหมือนๆกันหมดในทุกสถาบันปิด
คุกนั้นทั้งทำให้อุ่นใจทั้งสร้างภาพพจน์ เราบอกตัวเองว่านี่คือสถานที่กักขังผู้ร้าย ที่มีคนเฝ้าแน่นหนา ทำให้เราผู้อยู่ข้างนอกนอนตาหลับ แต่ตามความเป็นจริงแล้วไม่ใช่เช่นนั้นเลย ผู้ต้องขังนั้นเปรียบเสมือนอยู่ในระหว่างเวลาละคอนเปลี่ยนฉาก ก่อนที่จะออกมามีชีวิตอีกครั้ง ถึงแม้ว่าจุดประสงค์คือการรักษาความแลอดภัย จุดมุ่งหมายควรจะเป็นว่า ผู้ต้องขังผู้ซึ่งเมื่อได้รับโทษทัณฑ์ตามความผิดแล้ว จะได้ออกมาเป็นคนที่ดีกว่าตอนเขาเข้าคุก เพื่อที่เขาจะไม่กระทำผิดอีก
หรือจะเลือก ให้นักโทษออกมาจากคุกโดยมีความโกรธและเกลียด เราควรเปิดโอกาสให้มีการปลดปล่อยมากขึ้น ให้มีความหวังเสมอว่าจะได้รับอิสระ ตามสถิติถ้าผู้ถูกคุมขังต้องจำคุกเต็มอัตราเท่าไหร่ จะมีความเป็นไปได้สูงที่เขาเหล่านั้นจะกระทำผิดอีก ถ้าขังนานเกินไป ผู้ต้องขังจะเสียคนไปเลย ในประเทศฝรั่งเศสนั้น การปลดปล่อยแบบมีเงื่อนไข ได้ลดลงมาเกือบครึ่ง…
มีทางเลือกมากมายกว่าที่จะต้องเป็นการจองจำ เช่น การควบคุมทางด้านตุลาการ การให้ผู้ต้องขังมีอิสระบ้าง การให้ผู้กระทำผิดซึ่งเป็นผู้เยาว์แก้ตัว ให้นักโทษอาศัยอยู่นอกคุกได้โดยมีหรือไม่มีผู้ควบคุม ให้ใช้แรงงานทั่วไป
แต่ทางเลือกเหล่านี้ไม่มีการจัดหาให้อย่างเพียงพอ และกฐหมายก็ไม่ได้ช่วยให้เกิดมีขึ้น เราต้องสร้างตัวเลือกอื่นขึ้นมาอีก ทางเลือกใหม่นี้ต้องมีอำนาจตุลาการเข้ามาเกี่ยวข้องเพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของกฐหมาย และพร้อมมีสิทธิ์ได้รับความช่วยเหลือทางด้านกฐหมายทุกขั้นตอน ในขณะเดียวกันทางเรือนจำก็ต้องทำตัวเป็นสถาบัน ศึกษาและสังคม เราจะเป็นคนของสังคมได้อย่างไรถ้าเราต้องใช้ชีวิตอยู่ในที่ที่ไม่มีการสมาคม ถ้าเราเริ่มนับถือผู้ต้องขังได้เมื่อไร เมื่อนั้นเราก็หวังได้ว่าเขาจะนับถือตัวเขาเอง และผู้อื่นด้วย
เรือนจำนั้นเป็นสถานที่ที่ไร้อิสระอยู่แล้ว ไม่จำเป็นต้องเพิ่มความอับอายขายหน้า เข้าไปอีก ประเพณีของศาสนายิวคริสเตียนที่ต้องล้างบาปโดยการทุกข์ทรมานนั้นมิได้พิจารณาผลเสียทางด้านจิต ก็คือ การทุกข์ทรมาน และ การอับอายขายหน้า เป็นบ่อเกิดแห่งความโกรธแค้น และทำให้กระทำผิดอีก ในสถานการ์ณที่ก้าวร้าวและรุนแรงเช่นนี้ ย่อมเป็นไปไม่ได้ที่ ผู้ต้องขังจะกลับตนเป็นคนดี แก้ไขอดีต และก้าวไปข้างหน้าในสังคมได้
ไม่ใช่ว่าสถานกักกันสมัยใหมๆ่ที่ยุติธรรมและมีเมตตาจิตเท่านั้นที่เริ่มเปลี่ยน เราทั้งหลายต้องเปลี่ยนให้ได้ลึกถึงจิตวิญญาณ
ถ้าจะให้บังเกิดผล เราต้องมีมนุษยธรรมแต่ไม่จำเป็นต้องอ่อน คุกนั้นเป็นสถานกักกันที่กดดันความเจริญเติบโต ผู้ต้องขังน่าจะมีสิทธิส่วนตัว ที่จะทำงานบ้าง เรียนรู้ หรือฝึกงาน ไม่ใช่เพียงที่จะกลับไปอยู่ในสังคมได้อีกโดยไม่กระทำผิดอีกเท่านั้น แต่เพื่อให้เขาแก้ตัวให้กับสังคมที่เขาได้ทำผิดไว้ด้วย
งบประมาณที่จัดขึ้นเพื่อปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงหน่วยงานราชทัณฑ์นั้นไม่ควรนำไปใช้แต่การสร้างเรือนจำใหม่ๆ แต่ควรเป็นการฝึกสอนเจ้าหน้าที่เรือนจำด้วย เพื่อที่การปฎิรูปจะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อาชีพนี้ยากนักควรต้องมีการ ลงทุน เพื่อที่พวกเขาจะได้ไม่เป็นแค่พนักงานผู้ถือกุญแจ… การลงทุนนี้เป็นทางเลือกอีกอย่างแทนที่การสร้างคุก และก็ไม่น่าจะแพงไปกว่าค่าใช้จ่ายในการคุมขังผู้ต้องหาหนึ่งคน
ข้าพเจ้าเพียงพอแล้วกับสถานกักกัน กับการไม่เชื่อมโยงกัน กับระบบบริหารงาน และ เหนือสิ่งอื่นได ข้าพเจ้าต้องหนีไปจากสถานที่ปิดนี้ แปดปีที่เหมือนถูกจองจำนั้นพอแล้ว ข้าพเจ้าไม่อยากจากที่นี่ไปโดยไม่บอกอะไรเลย และไม่ต้องการเขียนเรื่องเล่าที่น่าอ่านกว่านี้เพียงเพื่อว่าจะไม่ได้โดนว่า โดนโจมตี หรือมีคนอิจฉา แต่ก็ได้รับการสนับสนุนอย่างมากมาย ถ้าจำเป็นจริงๆข้าพเจ้าก็จะกลับมาทำงานที่นี่อีก
The most recent posting contains up to date details of death row in Bang Kwang prison. Concerned with the death penalty we are continually reminded of the awful conditions of detention, especially for those condemned to death. The most blatant offence against the humane treatment of prisoners is the permanent shackling of detainees. Remedies are not in piecemeal improvement of abuses, but rather in a total change in the penal system. In the following extract from a book which led to upheaval in the French prison system the principles of such a change are passionately laid out.
Chief Medical Officer of La Santé Prison
Extract from the memoir of Veronique Vasseur
“At La Santé, one cannot be lukewarm. Either one is passionate and one goes the whole way, or one becomes indifferent, and performs one’s function very badly. One cannot just maintain a technical and professional attitude. Either you commit yourself, or it is not worth the bother”.
While the extension of medical services in the prisons has reached normal standards, other things are unchanged: hygiene conditions which are precarious and unhealthy, aged locations, laziness, detention without planning, valueless activities, absence of intimacy, promiscuity, absence of affection, endless waiting, hopes which are always frustrated, anger and hopelessness, violence, self mutilation, attempted suicides as well as actual suicides but also security that is sometimes excessive and paranoid, repeated body searches, handcuffs or sometimes leg irons, arbitrary regulations, useless and humiliating teasing, systems of balance which weigh on the most vulnerable, prolonged isolation which can go on for years, medieval disciplinary quarters, and, finally, a total lack of rights in a place meant to represent them.
Dostoyevsky wrote: “We cannot judge the level of civilization of a nation without visiting its prisons”. This, at least, has been well taken care of …
The findings are overwhelming. A report made by members of parliament and senators bears the heading “Prisons, a Shame for the Republic”.
We are all responsible for this state of affairs. But the immediate question is: are we civilized?
I became involved because I had no other moral choice. The code of medical ethics reads; ‘The doctor may not depart from her professional independence in any form whatever’ Article 5. ‘A doctor examining or caring for any person deprived of liberty must neither directly nor indirectly, even by being present, favour or tolerate any action against the physical or mental integrity, or the dignity of the detainee’ Article 10. My Hippocratic oath reminds me that ‘My first duty is to reestablish, to preserve and to promote health in all its aspects… I respect all persons, I will intervene to defend them if they are weak and vulnerable, or when their integrity or dignity are threatened’. My idealism cost me dearly, honesty and respect do not pay.
I regret nothing. I profoundly loved this place and its occupants. I have learned much. I have had moments of despair, but also great joys and much emotion.
A prison is a school of tolerance, of listening and respecting others. It must never be forgotten that a detainee is a citizen who, deprived of liberty during a more or less long intermission, is called to join again the free world.
In February 2000, the President of the French Bar in Paris, announced that there would be a permanent legal representative within the prison to care for the rights of the detainees and to plead on their behalf in court disputes. By an amusing coincidence this practice had already become a reality in all French prisons. The law of April 2000 established the rights of citizens with regard to the administration. The penal administration, abusively considering itself apart, queried the Council of State, whether it was subject to this regulation. The question is fundamental. Is the penitential administration an administration or not? Is a detainee a citizen? The answer in both cases was yes, and will have considerable effect on the future.
A Commission report in March shows the way for a truly political penitentiary. It affirms the rights of the detainees and calls for the creation of an independent control charged with verifying the application of laws behind bars. At last, rights have found an entry into prisons and lawyers have a foot in the door to stop it being closed again.
I hope that the immense hopes of the year 2000 will not be shattered, a prison is only a transit station, there is a before and an after…..
The upheaval in the penal institutes has had repercussions in the whole judicial world. In June 2000, a law on the presumption of innocence foresees a liberty judge who should take a stand on the demand for provisional detention by the judge preparing the case for the courts….. Provisional detention should be the exception; 41% of those arrested being detained and excessively long provisional detentions show that France is no longer the model of human rights it has always wished to be.
Every year, about 1,000 persons are imprisoned by error. Nor should we forget those who should not be there at all. I think especially of illegal immigrants (37% of those in La Santé), their offence being an administrative matter they should not be subject to the penal code. I think too of the drug addicts and small time delinquents, whose treatment should be health and socially based; repressive punishment is ineffectual. I think too of minors, who offend again at a rate of almost 100%. Also the psychically disturbed, who have no place in the prison system….I think too of imprisoned women, who sometimes give birth while shackled, and of their babies who suffer psychic and motor disequilibrium….
It appears that we lack imagination. A sole response: prison, prison for all those who derange us, to exclude from society those with whom one does not know what to do….
During my eight years in la Santé, I met with, apart from some exceptions, a marginal population, poor, often without access to care and taking the opportunity of access to prison medical services. Has imprisonment become a mode of treatment of poverty?
We have all, each at her level of responsibility, by our lack of protest, allowed this situation to develop into the habitual routine of our society.
In fact nobody was interested in prisons. Until becoming a fashion this year; if only it could last….
Not only is it that many have no connection with the prison system. The Penal Code must be re-examined, its role in oppressing individuals, breaking down their personalities, making them creatures of response to orders, humiliation being programmed and institutionalized.. Power is exercised by the strongest over the weakest. In effect what is being said, without the hypocrisy, is ‘Here, you are no longer anything!’
Such power, in an enclosed area, without any transparency, without external control, can only end in aberration. Such is human nature and the outcome is the same in all closed institutions.
Prison reassures as much as it engenders fantasy. One says to oneself, that is where evil is contained. It is well guarded and we can sleep peacefully in our beds. But the reality is otherwise. The detainee is in a state of intermission and must re-emerge. Even though the goal is security, the objective is that he who has fulfilled his penalty emerges a better person than when he entered the prison, so that he will not re-offend.
The alternative would be for the freed prisoner to emerge in hatred and anger. One must envisage more permissions to leave prison, more anticipated liberations. According to statistics, the more the full penalty is served, the higher the probability of re-offense. If the penalty is too long, the prisoner is destroyed for ever. In the last fifteen years in France, conditional release has decreased by half…
There are already many alternatives to prison – judicial control, semi-liberty, penal reparation for minors, outside placement, with or without supervision, general works…but these arrangements remain insufficient and justice avails too little of them. One must invent new alternatives. These procedures must be judicial as is wished by lawyers, and with the right to legal assistance at every stage. It is equally necessary that the prison play an educative and social role, one cannot have a social being in an asocial setting… It is only in respecting the detainee that one can hope that he regains self-respect and the respect of others.
A prison consists in the deprivation of liberty. It is useless, and also ineffectual to add humiliation. The judeo-christian tradition which promotes redemption by suffering is oblivious of psychological evidence: suffering and humiliation generate hatred, vengeance, and lead to re-offence. One does not re-establish oneself, make amends for the past, and take a step towards society, in an environment of violence and force.
It is not only in fair new prisons and with benevolent law that change occurs, a profound change in spirit is required.
To have effect, one must be humane, which does not entail laxity. Actually prisons fulfill their function as guardian efficiently, but, paradoxically, with a certain permissiveness which avoids the growth of revolt. The detainee should have a personalized sanction. He should have rights, be able to accomplish tasks, acquire a formation, and serve an apprenticeship. And that not only to re-enter society and avoid re-offense, but also to make reparation to society whose laws have been transgressed.
Budgets for reform of the prison system should not be dedicated only to constructing new prisons but also to the formation of better prison officials without whom no prison reform can be effective. Theirs is a difficult occupation and which requires individual investment so that they are not just carriers of keys…Investment must also be made in alternatives to prison, which, besides, would cost must less than a stay in prison.
I have had enough of prison, of its incoherencies, its administrative loads and, above all, I need to escape this closed milieu. Eight years in confinement is enough. I did not wish to leave this place without saying anything, nor did I wish to write what might have been more acceptable rather than earning condemnation, attack, jealousy, but also immense support. If necessary, I would do it all again…
Wednesday, July 01, 2009
Bang Kwang Improves
Conditions in Bang Kwang Prison
A year ago Bang Kwang Prison was listed by the Times Newspaper as one of the ten worst prisons in the world. However, conditions there have improved; there is now at least one worse prison in Thailand itself! The following is an up to date summary of the conditions for Death Row prisoners, most of whom are held in Bang Kwang.
OVERVIEW OF THE CONDITIONS OF DETENTION IN DEATH ROW
The Prison of Bang Khwang in Nonthaburi, Bangkok, consists of 13 buildings. Apart from building 8 (factories), 9 (kitchen), 10 (solitary confinement), 11 (executions) , 12 (hospital), 13 (university and pigs), 15 (coffee shop), each of them is composed of cells of similar size and capacity. The total capacity of the prison is 4,000 and the number of prisoners amounts at present to about 4130.
Building 1 which used to host all death row inmates is now closed and death row prisoners are located in buildings 2 and 5, separated from other prisoners, including those condemned to life imprisonment.
Death row prisoners are between 20 to 30 people to a cell, all together, without any distinction regarding their age, offence or the status of their case. They sleep on blankets lying on the floor. Electric lights are on 24 hours a day. They can shower every day but are provided infrequently with toiletries. They are chained at the ankles 24 hours a day for the entire length of their stay on death row.
Their daily routine is as follows :
The cells open at 7.30 am for breakfast. They can go out to exercise and/or study until 11.00 am. Lunch is served between 12.30 and 1 pm. They are locked back in their cell at 2.30 pm or 3 pm depending on the day. No dinner is served. The two daily meals are composed of rice and a soup with pieces of meat or fish. They can take as much rice as they want for lunch. No free coffee or tea are available.
They have no possibility to meet with other prisoners. They can only study or exercise among themselves.
They are allowed 2 visits a week, on Tuesdays and Thursdays. The first round of visits starts at 1 pm until 1.45 pm and the second round starts at 1.45 until 2.30 pm. Visitors must arrive half an hour prior to the visiting time.
They are allowed phone calls twice a week for 5 minutes. The use of cell phones is prohibited.
They are allowed to write letters. However, the content is censored and the letters cannot be too long or contain any explicit complaint.
In case of ill-treatment, prisoners can submit a complaint to prison authorities. However, the death row inmates in Bang Khwang are usually a lot more subject to depression than to physical violence. That is why moral support from the outside, especially from families and friends, is so essential to them.
Subscribe to:
Posts (Atom)