Tuesday, July 26, 2011

Slaugther in Norway and the Death Penalty: Thai reaction


สังหารหมู่ในนอรเวย์ กับการไม่ลงโทษประหารชีวิต

สมศรี หาญอนันทสุข
สมาชิก แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย

การละเบิดที่กรุงออสโล และการสังหารหมู่อย่างโหดเหี้ยมที่เกาะอูโทยาในวันที่ 22 กรกฏาคม ที่ผ่านมา เป็นข่าวสะเทือนขวัญไปทั่วโลก และเป็นเหตุการณ์ที่ยอมรับกันไม่ได้ ไม่ว่าใครจะอยู่เบื้องหลังการกระทำของชายคนร้ายวัย 32 ปี หรือจะมีกี่คนที่ร่วมมือในการโจมตีครั้งนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวหากเกิดขึ้นในประเทศไทย และหากชายผู้นี้เป็นคนไทยที่ก่อคดี แล้วถูกจับได้ในเมืองไทย คงถูกศาลเตี้ยรุมประชาทัณฑ์ จนครอบครัวต้องย้ายบ้านหนีไปแล้ว

คนไทยที่อ่านหรือดูข่าวนี้ คงตกใจไม่แพ้ชาวต่างชาติ ซึ่งกำลังติดตามอย่างใจจดใจจ่อเพราะอยากจะรู้ว่าอะไรที่ทำให้คทาชายชาวนอรเวย์ผู้นี้ต้องลงมือวางระเบิด ยิงสังหารหมู่ อย่างเลือดเย็นมากๆ ที่ผ่านมาสื่อมวลชนไทยหลายแขนงวิพากษ์วิจารณ์ และบางคนลุ้นให้มีการลงโทษประหารชีวิต รวมทั้งสื่อที่ไร้คุณภาพบางแขนง เชื่อว่าประเทศนอรเวย์จะลงโทษคนคนนี้ดังเช่นที่หลายประเทศ (รวมถึงประเทศไทย) มีแนวโน้มจะกระทำกัน ที่หนักไปกว่านั้นผู้เขียนได้ฟังผู้อ่านข่าวสองท่านเมื่อวันอาทิตย์ที่ผ่านมาซึ่งพูดอย่างสะใจว่า ประเทศนอรเวย์ควรจะประหารชีวิตชายผู้นี้และสัปให้เป็นชิ้นๆ ฟังแล้วก็อดรู้สึกอเน็จอนาจใจกับเรื่องทั้งสองเรื่องไม่ได้ ก็คือเรื่องการสังหารหมู่ที่นอรเวย์ และทัศนคติของสื่อมวลชนไทยที่ซาดิสย์ไม่แพ้กัน

มันน่าสนใจว่า ผู้อ่านข่าว และคนไทยจำนวนมากไม่ทราบเลยว่าประเทศในยุโรปเขาไม่มีการลงโทษแบบนี้นานแล้ว โดยเฉพาะสมาชิก 27 ประเทศของสหภาพยุโรป (EU) ซึ่งกำหนดเป็นกฏระเบียบเลยว่าหากประเทศใด ยังมีการลงโทษประหารชีวิตอยู่ ก็จะเป็นสมาชิกไม่ได้

อย่างไรก็ตาม สำหรับประเทศนอรเวย์ (และสวิสเซอแลนด์) แม้จะไม่ได้เป็นสมาชิกสหภาพยุโรป แต่ก็ได้ปฏิบัติเช่นเดียวกับประเทศอื่นในแถบเดียวกัน และรัฐบาลทุกชุดของประเทศเขาก็ไม่เห็นด้วยกับการลงโทษที่ป่าเถื่อนทุกรูปแบบ เขาจึงออกกฏหมายยกเลิกโทษประหารฯให้นักโทษธรรมดาตั้งแต่ปี 2448 (คศ. 1905) หรือร้อยกว่าปีที่แล้วและยกเลิกคดีอาญาทุกคดีในปี 2522 อีกทั้งยังลงนามในปฏิญญาและอนุสัญญาหลักๆ ถึง 14 ฉบับ หรือเกือบทั้งหมดที่ระบุไว้ในรายงานของ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล

หากมองเรื่องการโจมตีด้วยระเบิดที่กรุงออสโลและที่เกาะอุโทยา จากตรรกะธรรมดาๆ ต้องยอมรับว่าเป็นเรื่องน่าสพึงกลัว และต้องลงโทษค้นร้ายที่เกี่ยวข้องทุกคน ไม่มีข้อยกเว้น แต่จะลงโทษอย่างไร หากถามรัฐบาลของประเทศเขาและประชาชนทั่วไปในนอรเวย์ว่า เรื่องนี้น่าจะทำให้รัฐสภาของเขานำโทษประหารชีวิตกลับมาใช้เพื่อป้องปรามการกระทำที่อาจจะเกิดขึ้นอีกในอนาคต หรือไม่ อย่างไร

ผู้เขียนขอถือวิสาสะ ยืนยันแทนคนนอรเวย์ได้เลยว่า รัฐบาลและประชาชนนอรเวย์เขาเลิกคิดถึงการลงโทษแบบตาต่อตา ฟันต่อฟัน และข้ามพ้นการลงโทษเก่าๆเช่นนี้ไปไกลเกินกว่าที่เราคิดมากแล้ว ทั้งนี้เป็นเพราะเขามีความศิวิไลย์มากกว่าเรา และเขาไม่เห็นว่ามีหลักประกันอะไรที่ โทษประหารชีวิตจะช่วยยับยั้งไม่ให้ผู้กระทำผิดผู้นี้ คิดวางระเบิด และสาดกระสุนใส่บรรดาเยาวชนเหล่านั้น เพราะผู้ที่คิดทำอะไรได้ถึงขนาดนี้ส่วนใหญ่ ไม่กลัวการถูกประหารฯอยู่แล้ว บางคนถึงขนาดติดระเบิดพลีชีพวิ่งไปยังเป้าหมาย เพื่อตายพร้อมๆกันโดยไม่ต้องคอยโทษประหารด้วยซ้ำไป

ดังนั้นโทษแบบนี้จะมีความหมายอะไร มีไปก็คอยแต่จะสร้างภาพพจน์ไม่ดีให้กับประเทศชาติ สู้เรามาคิดใหม่ ตรากฏหมายใหม่ ให้ลงโทษตลอดชีวิตดีกว่า เพื่อให้ผู้ที่กระทำผิดในลักษณะนี้มีชีวิตอยู่ในคุกให้เราได้ศึกษาถึงต้นเหตุปัจจัยที่ทำให้เขาคิด วางแผน และลงมือกระทำการนั้น ไม่ว่าสาเหตุจอมาจากการเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์มากไป หรือมีพฤติกรรมเรียนแบบจากที่ไหน หรือเป็นความเชื่อทางศาสนา ลัทธิที่สุดโต่ง หรือเป็นผู้ก่อการร้าย หรือเป็นปัญหาทางจิตล้วนๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นอีกกับสมาชิกของอีกหลายครอบครัวในอนาคตก็ได้

จึงอยากจะเตือนสติคนไทยหลายคนว่า เมื่อเราจะกำจัดความรุนแรงด้วยการใช้วิธีที่รุนแรง มันอาจจะกำจัดคนๆนั้นด้วยการเพิ่มคนตายให้กับประเทศนอรเวย์อีกหนึ่งคน แต่ความรุนแรงที่เสริมเพิ่มเข้าไปนั้น มันจะฝังลึกในจิตใต้สำนึกผู้คนทั่วไปมากกว่าเก่าหรือเปล่า หรือสู้เรานำกรณีความรุนแรงนี้มาเป็นประโยชน์ศึกษาให้ถึงต้นเหตุ เพื่อนำผลการศึกษามาเฝ้าระวัง ป้องกันคนต่อๆไปไม่ให้มีโอกาสกระทำการเช่นนี้ จะดีกว่าหรือไม่

Also
H.E. Nordgaard Katja,
Ambassador of the Kingdom of Norway
Bangkok, Thailand

It seems to me that many people from inside and outside the country are calling for bringing back death penalty to Norwegian society after the bombing and shooting by Anders Behring Breivik. I hope your respected government will not consider capital punishment for the final solution and will be able to clam down the anger of the people.

I understand that this incident has caused a big tragedy (76 dead) which no one can accept it but death penalty is not an ideal solution for any problem. Norway is a developed country, high moral and abolished DP since 1905. It is a model of HR and Peace and it is well respect place for Nobel prize for the world.

With our awareness and concern, there are many ways of punishment to assure security and confidence for people, ie. extending the penalty period from 21 years to be more years, promulgate a new law for life sentence for heinous crime (not for every cases) or consider it case by case, etc.

Bringing back DP to the Kingdom of Norway will be a big shaking for our international norm and undermine our human right principle against DP.

We join the sorrow of victims' relatives and the grief of all people and God bless you all.

Somsri Hananuntasuk
Member of AI Thailand
ED of ANFREL

Tuesday, July 19, 2011

UPR Triumvirate


It bodes ill for progress towards abolition of the death penalty in Thailand that the three countries chosen to respond to Thailand's human rights report on October 5th, the UPR "triumvirate" are countries which themselves retain the death penalty.

Cuba, commuted the death sentences of the remaining 3 death row inmates in 2010. The last execution was carried out in 2003.
In Indonesia, 98 people remained under sentence of death at year end 2010. New death sentences that year totaled 7 and 10 persons were executed in 2008
In Nigeria the number on death row is approximately 824, and there were 151 new death sentences last year. The last execution was in 2006.

Figures for Thailand are: prisoners on death row 759; death sentences in 2010,53; most recent executions, 2 persons in 2008.
In summary, Cuba is very low on the list of retentionist countries, while Indonesia, Nigeria, and Thailand are comparable middle level executioners. The only hope of strong recommendation to abolish the death penalty rests with interventions from countries attending the UPR.

Saturday, July 16, 2011

One Step Forward, Two Steps Back


One must not shuffle about with the death penalty. In 2009, the Ministry of Justice published a second Human Rights Plan for the years 2009 to 2013. In section 3.1 of the plan we are informed that Parliament has discussed the death penalty, agreeing to abolish the penalty and to replace it with life imprisonment. The document originates from the Ministry of Justice. In an annex to the plan, government ministries and departments, respond to the plan, accepting its proposals. Among the signatories are Mr. Kasit Phirom, Minister of Foreign Affairs. On October 5th, Thailand is scheduled to present itself for a Universal Peer Review (UPR) of its human rights record before the UN Human Rights Council in Geneva. The website of the Ministry of Foreign Affairs at present displays a report which the Royal Thai Government will present at the Review. Strangely, there is no mention of abolition of the death penalty. It is impossible that this is some careless omission. In its previous appearance before the UN Human Rights Council the Government was advised that current interpretation of international law recommends abolition. Since that time the UN General Assembly has voted three times in favour of a Moratorium on executions worldwide to be accompanied by national reflection on abolition.
What is the Government doing? Have they reversed the decision in favour of abolition? Ominously, regarding the death penalty, the UPR submission speaks of the importance of paying attention to public opinion throughout the country. By this statement, it appears that the Government is falling back on an old cliche, that abolition must wait a majority in public opinion. As the government, now three years into the human rights plan, has made no effort to introduce a public debate or to present evidence for an informed discussion, we can only assume that it intends yet again to quote the uninformed opinion of a majority to block progress on abolition. This is a failure in moral leadership, and a betrayal of the stand taken in the 2nd human rights plan. Is this a decision of the Ministry of Justice? By what right do they reject the plan and the signatories who accepted its proposal? Will they try to justify this stand in Geneva in the coming October, or hope that it will quietly pass unnoticed?